ประมวลภาพ พานไหว้ครู คณะวิจิตรศิลป์ ม.เชียงใหม่ – ที่สุดแห่งความวิจิตร ดูมีมนต์ขลัง

ประมวลภาพ พานไหว้ครู ของน้องๆ นักศึกษา จากคณะวิจิตรศิลป์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ ในแต่ละปี ผลงานแต่ละชิ้นเรียกได้ว่าโดดเด่นเรื่องความประณีตสวยงาม ดูมีมนต์ขลัง สมกับที่เป็นผลงานของน้องๆ จากคณะที่ขึ้นชื่อในเรื่องการเรียนศิลปะอย่างคณะวิจิตรศิลป์

พานไหว้ครู วิจิตรศิลป์ ม.เชียงใหม่ แต่ละปี สวยงามวิจิตรมาก

พานไหว้ครู คณะวิจิตรศิลป์ มช. ปี 2561

ขอบคุณภาพจาก: mong palam, @Pikmi00Chapond

แรงบันดาลใจมาจากการบูชาเทพของอียิปต์ ในคอนเซปท์ “เทพเจ้าอียิปต์ ศิลป์ ศาสตร์ ความรู้ และวิธีการ”  ใช้แม่เหล็กขั้วบวก-ขั้วลบต่อวงจร ทำให้ยอดพีรมิดลอยและหมุนได้

ขอบคุณภาพจาก: @Touchshuai

ขอบคุณภาพจาก: @Touchshuai

ขอบคุณภาพจาก: mong palam, @Pikmi00Chapond

คนถือพานมีการแต่งหน้าให้เข้ากับคอนเซปท์ของพาน เก๋สุดบอกเลย

ขอบคุณภาพจาก:  @Pikmi00Chapond

ตอนนั่งมีการใส่หน้ากากสไตล์เทพเจ้าอียิปต์ให้เข้ากับคอนเซปท์ของพาน สมกับได้รับรางวัลชนะเลิศพานไหว้ครูประเภทความคิดสร้างสรรค์จริง ๆ

พานไหว้ครูวิจิตรศิลป์ มช. ปี 2560

ขอบคุณภาพจาก: ช้างเผือกอยู่ในป่า @tweitfcmu

แรงบันดาลใจจาก พื้นเพ-อารยธรรมลุ่มน้ำโขง, พื้นบ้าน-เครื่องบูชาอย่างชนบท, พื้นภูมิ-ภูมิปัญญา และ พื้นแผ่นดิน-พระภูบาลภูมิพล

ขอบคุณภาพจาก: ช้างเผือกอยู่ในป่า @tweitfcmu

ขอบคุณภาพจาก: ช้างเผือกอยู่ในป่า @tweitfcmu

พานไหว้ครู คณะวิจิตรศิลป์ มช. ปี 2559

ขอบคุณภาพจาก: krittaphong chaemchan, nuttakorn kraiboon, NICHAPHAT​ boonchuen

ชื่อธีมคือ Indigo Society คอนเซปท์คือ Oriental pixel โดยพานในปี 59 นี้ได้รับรางวัลประเภทสวยงาม

ขอบคุณภาพจาก: krittaphong chaemchan, nuttakorn kraiboon, NICHAPHAT​ boonchuen

Oriental pixel คือการนำจุดหลายจุดมาเรียงต่อกัน จนกลายเป็นรูปภาพ ซึ่งจุดถือเป็นอนุภาคเล็กแต่ถ้ามารวมกันนับหมื่นนับพันก็จะมีพลังยิ่งใหญ่ได้ สีสันบนเครื่องลายครามของชาวจีน สู่แรงบันดาลใจในการสรรค์สร้างงานประติมากรรม ใช้คู่สีขาว-คราม

ขอบคุณภาพจาก: krittaphong chaemchan, nuttakorn kraiboon, NICHAPHAT​ boonchuen

ส่วนลายจุด ๆ ที่เห็นนั้นดัดแปลงมาจากกลับดอกไม้สด ด้วยการพับจับจีบเป็น กลีบกระพุ้ง

ขอบคุณภาพจาก: krittaphong chaemchan, nuttakorn kraiboon, NICHAPHAT​ boonchuen

และจุดที่เกิดจากการพับกระดาษขึ้นรูปเป็นตัวพาน ใช้เทคนิค Origami หรือศิลปะการพับกระดาษของชาวญี่ปุ่น

ขอบคุณภาพจาก: krittaphong chaemchan, nuttakorn kraiboon, NICHAPHAT​ boonchuen

รวมภาพเบื้องหลังการทำงาน

พานไหว้ครู คณะวิจิตรศิลป์ มช. ปี 2558

ขอบคุณภาพจาก: fcchingchasawan

พานไหว้ครู สวยงามมาก ของคณะวิจิตรศิลป์ มหาลัยเชียงใหม่ ปี 2558

ขอบคุณภาพจาก: NICHAPHAT​ boonchuen

ขอบคุณภาพจาก: Lulu Villa Suan-dok

พานไหว้ครู คณะวิจิตรศิลป์ มช. ปี 2557

ขอบคุณภาพจาก: @Touchshuai

ประติมากรรมดอกไม้ร่วมสมัย รูปแบบลายผ้าลุนตยาอะฉิกผ้าชั้นสูงราชสำนักมัณฑะเลย์สู่พานไหว้ครูปี 57

ขอบคุณภาพจาก: Surapan Tanloungkat

พานไหว้ครู คณะวิจิตรศิลป์ มช. ปี 2556

ขอบคุณภาพจาก: ‎PIKPALUMSAY

ในปี 2556 พานไหว้ครูของคณะวิจิตรศิลป์มาในคอนเซปท์ “จตุโลกบาล”

ขอบคุณภาพจาก: ‎Pariwat Promsan‎ 

พานไหว้ครู คณะวิจิตรศิลป์ มช. ปี 2555

ขอบคุณภาพจาก: Benzy Chamaiporn

พานไหว้ครู คณะวิจิตรศิลป์ มช. ปี 2554

ขอบคุณภาพจาก: @MeritSuJu13

พานไหว้ครู คณะวิจิตรศิลป์ มช. ปี 2553

ขอบคุณภาพจาก: Krittaphong Chaemchan

ประติมากรรมดอกไม้ร่วมสมัย  ในแนวความคิด จิตรกรรมเขียนสีฝุ่นภาพระย้าเครื่องแขวนจากบานประตูวัดโสมนัสวิหาร

ชาวแคมปัส-สตาร์ ชอบพานไหว้ครู ของคณะวิจิตรศิลป์ มหาลัยเชียงใหม่ (CMU) ในปีไหนกันบ้าง เข้ามาแชร์ความคิดเห็นกันได้ค่ะ ^_^

บทความแนะนำ

ข่าวที่เกี่ยวข้อง