อาชีวศึกษา เรียนอะไรบ้าง ? แนะแนวทางการศึกษา ต่อสายอาชีวศึกษา ปวช. ปวส.

ใครที่สนในเรียนสายอาชีพ มีบทความเกี่ยวกับการเรียนต่อด้านนี้มาฝาก ” อาชีวศึกษา เรียนอะไรบ้าง ” สถาบันการอาชีวศึกษา (Vocational Education Institution) สถาบันการอาชีวศึกษาและสถาบันการอาชีวศึกษาเกษตร เปิดสอนหลักสูตร 3 ระดับชั้น ตามมาตรฐานคุณวุฒิแห่งชาติ พ.ศ. 2556 ได้แก่

อาชีวศึกษา เรียนอะไรบ้าง ?

3 หลักสูตรหลัก ของการเรียนอาชีวศึกษา

ประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.)
ประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง (ปวส.)
ปริญญาตรีสายเทคโนโลยีหรือสายปฏิบัติการ (ทล.บ.)

หลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.)

ตามคำสั่งสำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา ปี พ.ศ. 2556 – 2561 กำหนดมาตรฐานหลักสูตรและสาขาวิชา 9 ประเภทวิชา 51 สาขาวิชา ดังนี้

1.อุตสาหกรรม
ช่างยนต์ช่างกลโรงงานช่างซ่อมบำรุงช่างต่อเรือช่างเขียนแบบเครื่องกลช่างเชื่อมโลหะช่างไฟฟ้ากำลังช่างอิเล็กทรอนิกส์โทรคมนาคมมคคาทรอนิกส์ช่างก่อสร้างสถาปัตยกรรมสำรวจโยธาช่างเครื่องเรือนและตกแต่งภายในช่างพิมพ์อุตสาหกรรมยางเทคนิคแว่นตาและเลนส์เทคนิคคอมพิวเตอร์สุตสาหกรรมฟอกหนัง

2.พาณิชยกรรม
การบัญชีการตลาดการเลขานุการคอมพิวเตอร์ธุรกิจธุรกิจค้าปลีกธุรกิจสถานพยาบาลการประชาสัมพันธ์ภาษาต่างประเทศการจัดการด้านความปลอดภัย

3.ศิลปกรรม
วิจิตรศิลป์การออกแบบศิลปหัตกรรมอุตสาหกรรมเครื่องหนังศิลปกรรมเซรามิกการถ่ายภาพและะวีดีทัศน์.เทคโนโลยีศิลปกรรมคอมพิวเตอร์กราฟิกศิลปการดนตรีศิลปหัตถกรรมรูปพรรณและเครื่องประดับเครื่องประดับอัญมณีช่างทองหลวงการพิมพ์สกรีนออกแบบนิเทศศิลป์

4.คหกรรม
แฟชั่นและสิ่งทออาหารและโภชนาการคหกรรมศาสตร์เสริมสวยธุรกิจคหกรรม

5.เกษตรกรรม
เกษตรศาสตร์

6.ประมง
เพาะเลี้ยงสัตว์น้ำแปรรูปสัตว์น้ำ

7.อุตสาหกรรมท่องเที่ยว
การโรงแรมการท่องเที่ยว

8.อุตสาหกรรมสิ่งทอ
เทคโนโลยีสิ่งทอเคมีสิ่งทอเทคโนโลยีเครื่องนุ่งห่ม

9.เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศ

หลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง

ตามคำสั่งสำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา ที่ 552/2557 ปี พ.ศ. 2557 กำหนดมาตรฐานหลักสูตรและสาขาวิชา และการปรับปรุงเพิ่มเติมในปี พ.ศ. 2558 – 2561 มี 9 ประเภทวิชา และสาขาวิชาต่าง ๆ ดังนี้

1.อุตสาหกรรม
เทคนิคเครื่องกล [a] เทคนิคการผลิต [b] ไฟฟ้า [c] อิเล็กทรอนิกส์ [d] ช่างก่อสร้างอุตสาหกรรมเครื่องเรือนและตกแต่งภายในเทคนิคสถาปัตยกรรมสำรวจเทคนิคพลังงานเทคนิคกายอุปกรณ์โยธาเทคโนโลยียางเทคนิคโลหะเขียนแบบเครื่องกลเทคนิคอุตสาหกรรมการพิมพ์เทคโนโลยีการต่อเรือเทคโนโลยีโทรคมนาคมเครื่องมือวัดและควบคุมเคมีอุตสาหกรรมปิโตรเคมีช่างอากาศยาน [e]เมคคาทรอนิกส์และหุ่นยนต์เทคโนโลยีปิโตรเลียมเทคโนโลยีคอมพิวเตอร์การตรวจสอบโดยไม่ทำลาย [f]ช่างเทคนิคระบบขนส่งทางราง [f] เทคนิคขึ้นรูปพลาสติก [f] เทคนิคเครื่องทำความเย็นและปรับอากาศ

2.บริหารธุรกิจ
การบัญชีการตลาด [h]การเลขานุการคอมพิวเตอร์ธุรกิจการจัดการธุรกิจค้าปลีกการจัดการโลจิสติกส์การจัดการสำนักงานการเงินและการธนาคารการจัดการทรัพยากรมนุษย์ธุรกิจสถานพยาบาลภาษาต่างประเทศธุรกิจการจัดการทั่วไปธุรกิจการค้าระหว่างประเทศ

3.ศิลปกรรม
วิจิตรศิลป์การออกแบบศิลปหัตกรรมเทคโนโลยีผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมเครื่องหนังเทคโนโลยีเซรามิกการถ่ายภาพและมัลติมีเดียเทคโนโลยีศิลปกรรมคอมพิวเตอร์กราฟิกศิลปหัตถกรรมรูปพรรณและเครื่องประดับเครื่องประดับอัญมณีการออกแบบเครื่องประดับและอัญมณีช่างทองหลวงดนตรีและเทคโนโลยีการพิมพ์สกรีน บรรณาธิการกิจออกแบบนิเทศศิลป์ บรรณาธิการกิจ

4.คหกรรม
เทคโนโลยีแฟชั่นและสิ่งทอเทคโนโลยีการออกแบบแฟชั่นและสิ่งทอเทคโนโลยีสิ่งทอและเครื่องนุ่มห่มอาหารและโภชนาการ [i]เพิ่มเติมสาขางานเชพอาหารนานาชาติอุตสาหกรรมอาหารการบริหารงานคหกรรมศาสตร์เทคโนโลยีความงามธุรกิจคหกรรมการดูแลผู้สูงอายุเชฟอาหารไทย

5.เกษตรกรรม
เกษตรศาสตร์พืชศาสตร์สัตวศาสตร์สัตวรักษ์ช่างกลเกษตรอุตสาหกรรมเกษตรเกษตรอุตสาหกรรมเทคโนโลยีภูมิทัศน์ธุรกิจเกษตรและสหกรณ์ บรรณาธิการกิจ

6.ประมง
เพาะเลี้ยงสัตว์น้ำแปรรูปสัตว์น้ำ

7.อุตสาหกรรมท่องเที่ยว
การโรงแรมการท่องเที่ยวการจัดการธุรกิจท่องเที่ยวเกษตรเชิงนิเวศการจัดประชุมและนิทรรศการการโรงแรม [j]สปาและความงาม

8.อุตสาหกรรมสิ่งทอ
เทคโนโลยีสิ่งทอเคมีสิ่งทอเทคโนโลยีเครื่องนุ่งห่ม [k]เทคโนโลยีการทอผ้าไหมและผ้าพื้นเมือง

9.เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยีสารสนเทศคอมพิวเตอร์โปรแกรมเมอร์ซอฟต์แวร์ระบบสมองกลฝังตัวคอมพิวเตอร์เกมและแอนิเมชัน

เชิงอรรถ
a เทคนิคเครื่องกล : สาขางานเทคนิคเครื่องกลระบบขนส่งทางราง / b เทคนิคการผลิต : สาขางานผลิตเครื่องจักรกล / c ไฟฟ้า : สาขางานบำรุงรักษาระบบไฟในระบบขนส่งทางราง, สาขางานรถไฟความเร็วสูง d อิเล็กทรอนิกส์ : สาขางานอิเล็กทรอนิกส์การแพทย์ / e สาขาวิชาที่ปรับปรุง พ.ศ. 2559 / f สาขาวิชาที่เพิ่มเติม พ.ศ. 2559 / g เพิ่มเติม พ.ศ. 2561 / h การตลาด : สาขางานธุรกิจการบริการยานยนต์ / i อาหารและโภชนาการ : สาขางานการประกอบอาหารในเรือเดินทะเลระหว่างประเทศ / j การโรงแรม : สาขางานธุรกิจสนามกอล์ฟ, บริการบนเรือสำราญ / k เทคโนโลยีเครื่องนุ่งห่ม หรือ อุตสาหกรรมเสื้อผ้าสำเร็จรูป

หลักสูตรปริญญาตรีสายเทคโนโลยีหรือสายปฏิบัติการ

การเปิดสอนหลักสูตรปริญญาตรีในสถาบันการอาชีวศึกษา ใช้มาตรฐานคุณวุฒิอาชีวศึกษาระดับปริญญาตรีสายเทคโนโลยีหรือสายปฏิบัติการ ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2557 ปัจจุบันเปิดสอน 6 สาขาวิชา ดังนี้

อุตสาหกรรม

เทคโนโลยียานยนต์ (ทล.บ. (เทคโนโลยียานยนต์))
เทคโนโลยีไฟฟ้า (ทล.บ. (เทคโนโลยีไฟฟ้า))
เทคโนโลยีอิเล็กทรอนิกส์ (ทล.บ. (บัญชี))

บริหารธุรกิจ

กาตลาด (ทล.บ. (การตลาด))
บัญชี (ทล.บ. (บัญชี))
คอมพิวเตอร์ธุรกิจ (ทล.บ. (คอมพิวเตอร์ธุรกิจ))

ที่มา th.wikipedia.org/wiki/สถาบันการอาชีวศึกษา

บทความแนะนำ

ข่าวที่เกี่ยวข้อง